วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2554

Bodhisattva


In Mahāyāna Buddhism

Bodhisattva ideal

Mahāyāna Buddhism is based principally upon the path of a bodhisattva. According to Jan Nattier, the term Mahāyāna ("Great Vehicle") was originally even an honorary synonym for Bodhisattvayāna, or the "Bodhisattva Vehicle." The A asāhasrikā Prajñāpāramitā Sūtra contains an simple and brief definition for the term bodhisattva, which is also the earliest known Mahāyāna definition. This definition is given as the following: "Because he has enlightenment as his aim, a bodhisattva-mahāsattva is so called."
Mahāyāna Buddhism encourages everyone to become bodhisattvas and to take the bodhisattva vows. With these vows, one makes the promise to work for the complete enlightenment of all sentient beings by practicing the six perfections. Indelibly entwined with the bodhisattva vow is merit transference (pariṇāmanā).
In Mahāyāna Buddhism life in this world is compared to people living in a house that is on fire. People take this world as reality pursuing worldly projects and pleasures without realising that the house is on fire and will soon burn down (due to the inevitability of death). A bodhisattva is one who has a determination to free sentient beings from samsara and its cycle of death, rebirth and suffering. This type of mind is known as the mind of awakening (bodhicitta). Bodhisattvas take bodhisattva vows in order to progress on the spiritual path towards buddhahood.
There are a variety of different conceptions of the nature of a bodhisattva in Mahāyāna. According to some Mahāyāna sources a bodhisattva is someone on the path to full Buddhahood. Others speak of bodhisattvas renouncing Buddhahood. According to the Kun-bzang bla-ma'i zhal-lung, a bodhisattva can choose any of three paths to help sentient beings in the process of achieving buddhahood. They are:
  1. king-like bodhisattva - one who aspires to become buddha as soon as possible and then help sentient beings in full fledge;
  2. boatman-like bodhisattva - one who aspires to achieve buddhahood along with other sentient beings and
  3. shepherd-like bodhisattva - one who aspires to delay buddhahood until all other sentient beings achieve buddhahood. Bodhisattvas like Avalokiteshvara and Shantideva are believed to fall in this category.
According to the doctrine of some Tibetan schools (like Theravāda but for different reasons), only the first of these is recognized. It is held that Buddhas remain in the world, able to help others, so there is no point in delay. Kelsang Gyatso notes:
In reality, the second two types of bodhicitta are wishes that are impossible to fulfill because it is only possible to lead others to enlightenment once we have attained enlightenment ourself. Therefore, only king-like bodhicitta is actual bodhicitta. Je Tsongkhapa says that although the other Bodhisattvas wish for that which is impossible, their attitude is sublime and unmistaken.
The Nyingma school, however, holds that the lowest level is the way of the king, who primarily seeks his own benefit but who recognizes that his benefit depends crucially on that of his kingdom and his subjects. The middle level is the path of the boatman, who ferries his passengers across the river and simultaneously, of course, ferries himself as well. The highest level is that of the shepherd, who makes sure that all his sheep arrive safely ahead of him and places their welfare above his own.
"The king's way, called 'arousing bodhicitta with the great wish,' is the least courageous of the three. The boatman's way, called 'arousing bodhicitta with sacred wisdom,' is more courageous. It is said that Lord Maitreya aroused bodhicitta in this way. The shepherd's way, called 'the arousing of bodhicitta beyond compare,' is the most courageous of all. It is said to be the way Lord Mañjuśrĩ aroused bodhicitta." 

พระมหาโพธิสัตว์ ๔ พระองค์
คุณธรรมหลักของผู้ตั้งความปรารถนาเป็นโพธิสัตว์ คือ
       มหากรุณา คือ ความปราณีสรรพสัตว์(หมายรวมมนุษย์) ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง สงสารสัตว์ผู้ยากลำบากทั้งหลาย เฝ้าตามช่วยแนะเพื่อความสุขของเขา เป็นความยินดีกรุณาของโพธิสัตว์ทั้งหลาย ซึ่งมีพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์เป็นแบบอย่างของการปฏิบัติบำเพ็ญ
            มหาปณิธาน คือ การมีปณิธานอันยิ่งใหญ่ในการโปรดสัตว์ ไม่มีความหวาดกลัวต่อความยากลำบาก และพร้อมที่จะเสียสละเพื่อผู้อื่น ซึ่งมีพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์เป็นแบบอย่างของการปฏิบัติบำเพ็ญ
            มหาปัญญา คือ เป็นผู้ที่มีความรู้หรือศึกษาหาวิชาใส่ตัว ได้เป็นประโยชน์ส่วนตนเอง ส่วนผู้อื่น ช่วยเหลือผู้อื่นต่อไปให้รู้ว่าอะไรดีอะไรชั่ว มีปัญญาอย่างเฉียบแหลมในการกำจัดซึ่งกิเลส และช่วยเหลือเวไนย ซึ่งมีพระมัญชูศรีโพธิสัตว์เป็นแบบอย่างของการปฏิบัติบำเพ็ญ
            มหาจริยา คือ รู้ในวิธีนำตนและผู้อื่นให้พ้นภัยและสัมฤทธิผลเข้าถึงในคุณธรรมต่างๆ ที่มีประโยชน์ มีซึ่งขันติและสมาธิอันแรงกล้าในการโปรดสัตว์ มีพระสมันตภัทรโพธิสัตว์เป็นแบบอย่างของการปฏิบัติบำเพ็ญ
                 พระโพธิสัตว์ จึงเป็นผู้สำนึกสูงในประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านพร้อมกันไป

 มหาจตุปณิธานของพระโพธิสัตว์
พระโพธิสัตว์ต้องประกอบด้วยปณิธาน คือ ความตั้งใจอย่างมั่นคง 4 ประการ อย่างนี้
    1. เราจะละกิเลสทั้งหลายให้หมด
    2. เราจะต้องตั้งใจศึกษาพระธรรมทั้งหลายให้เจนจบ
   3. เราจะโปรดสรรพสัตว์ทั้งหลายให้สิ้น
    4. เราจะบำเพ็ญตนให้บรรลุ อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ          
อนึ่งพระโพธิสัตว์จะต้องมี อัปมัญญาหรือพรหมวิหาร 4 ทั่วไปในสรรพสัตว์ โดยไม่เจาะจง คือ 1. เมตตา 2. กรุณา 3. มุทิตา 4. อุเบกขา
       นี้คือ มหาจตุรปณิธาน ๔ ประการ ของผู้มีจิตใจอันยิ่งใหญ่ อันจะเป็นผู้ตรัสรู้อันควรสรรเสริญในอนาคต จิตใจเช่นนี้เรียกว่า โพธิจิต

 พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แบบอย่างแห่งความเมตตากรุณา
 พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ หรือพระโพธสัตว์กวนอิน  พระนามว่ากวนอิน เป็นการออกเสียงตามศัพท์แปลจากคำว่า อวโลกิเตศวร ซึ่งแปลว่า ผู้เพ่งเสียงแห่งโลก  หรือ ผู้เพ่งโดยอิสระ  พระโพธิสัตว์ท่านนี้มีสมญาว่า มหาเมตตา มหากรุณา เพราะพระองค์ท่านมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์โลกเป็นอันมาก ในการช่วยเหลือเวไนยสัตว พระองค์ท่านสามารถนิมิตนิรมาณกาย ได้ ๓๓ ปาง  ในการโปรดสัตว์ในรูปแบบต่างๆ  เช่นว่า พระองค์ท่านจะนิรมาณกายเป็นนาคไปโปรดนาคที่โลกนาค หรือนิรมาณกายเป็นเทพ ไปโปรดเทพยังสวรรค์ และขอเพียงเวไนยตั้งจิตอธิษฐานต่อท่านด้วยความศรัทธา ท่านก็จะมาช่วยให้พ้นการภัยนั้นๆซึ่งจะเป็นพระโพธสัตว์ที่ชาวจีนนับถือกัน มาก

พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์ แบบอย่างแห่งมหาปณิธาน
 พระ กษิติครรภ์โพธิสัตว์หรือพระตี้จั้ง พระองค์ท่านมีปณิธานคล้ายคลึงกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แต่มีผิดแปลกไปคือ พระองค์ท่านตั้งปณิธานที่จะโปรดสัตว์ในนรกภูมิ โดยตั้งสัตย์ปฏิญาณว่า หากไม่สามารถโปรดสัตว์ในนรกภูมิได้หมดสิ้น จะไม่ขอเข้าสู้พุทธภูมิ รูปของพระองค์ท่านมักจะสวมหมวกซึ่งเรียกว่า มาลา ๕ พระพุทธองค์ ซึ่งหมวกนี้พระชาวธิเบตมักจะนำมาใช้เมื่อประกอบพิธีทางมนตรยานในการโปรดสัตว์ในนรกภูมิ

พระมัญชูศรีโพธิสัตว์ แบบอย่างแห่งมหาปัญญา
Manjushri-The Buddha of Wisdom
พระ มัญชูศรีโพธิสัตว์ทรงราชสีห์เขียว อันราชสีห์นั้น เป็นราชาแห่งสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีความกล้าหาญไม่ครั่นคร้ามเกรงกลัวต่อสิ่งใดๆทั้งสิ้น อุปมาดั่งปณิธานของพระองค์ท่านที่ไม่เกรงกลัวต่อความลำบาก และอุปสรรคทั้งปวง ทรงมีความเพียรวิริยะแน่วแน่ต่อการโปรดตนเองและผู้อื่นให้ถึงพร้อม และราชสีห์เมื่อส่งเสียงคำรามขึ้น บรรดาสัตว์ทั้งหลายเมื่อได้ยินเข้า ก็หวดหวั่นพรั่นพรึง อุปมาได้ดัง การประกาศพระสัจจธรรมของพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ ซึ่งพระองค์ทรงมีความเด็ดเดี่ยวมั่นคง อันยังผลให้การประกาศเผยแพร่ของเดียรถีย์ต้องอับแสง

Story by Matt McQuown
The story of the Buddha at Deer Park (Sarnath) or the depiction of the Buddha pointing towards the earth as a witness to his accumulated merit or virtue after being challenged by Mara, these images of Manjushri function primarily as iconography and art.  They explain what the deity symbolizes and do not depict a specific context or event.  That said, there does exist a story that is more temporal and less mythical in nature and that traces its origins to conversations with the original Buddha, Siddhartha Gautama, himself.  This story takes place in the house of Vimalakirti, a lay disciple of the Buddha.  As the story goes, a debate arose between different Bodhisattvas regarding non-duality in Buddhism.  After hearing the thoughts on the subject from the other Bodhisattvas, Manjushri stood up and declared that all that was just said about non-duality was, in fact, to a small degree, dualistic.  After making his thoughts known, Manjushri turned to their host, Vimalakirti, and asked for his thoughts on the matter.  Vimalakirti’s response was to hold his tongue and say nothing, agreeing with Manjushri through his silence.  The central idea here is that in trying to explain Buddhism as being non-dualistic, the person expounding the idea must use language which is inherently dualistic; words and meaning are two entirely different things and so fall short when trying to support non-dualism.  This example of Manjushri’s wisdom is most likely an early example of his superior intellect and why he is associated with the virtue of wisdom.
พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ แบบอย่างแห่งมหาจริยา
พระ สมันตภัทรโพธิสัตว์ทรงคชสารเผือกหกงา อันช้างเผือกหกงานั้น เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ในบรรดาคชสารด้วยกัน ช้างเป็นสัตว์ที่มีความอดทนอดกลั้น หนักเอาเบาสู้ ซึ่งอุปมาว่าพระพุทธเจ้าหรือพระโพธิสัตว์ทรงรับภาระอันหนักที่จะโปรดเวไนย สัตว์ให้หลุดพ้นจากความทุกข์ พระองค์มีขันติอดทนต่อความทุกข์ทั้งปวง อีกความหมายหนึ่งคืออันที่จริงช้างป่าเป็นสัตว์ที่ดุร้าย แต่เมื่อได้ถูกนำเอาฝึกปรือแล้วมันก็จะเชื่องและเชื่อฟังผู้ที่เป็นสารถี หรือควาญช้าง อันนี้เปรียบได้เท่ากับมนุษย์ซึ่งเต็มไปด้วยกิเลส เมื่อได้ศึกษาอบรมตามพุทธธรรมแล้ว ก็จักอ่อนโยนสุขุมมีมานะอดทนที่จะรับภาระในการโปรดตนเอง และผู้อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง